บทที่ 8 อุปกรณ์ต่อพ่วง
บทที่ 8
อุปกรณ์ต่อพ่วง
อุปกรณ์ต่อพ่วง หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่สามารถต่อเข้ากับอุปกรณ์ของหน่วยประมวลผลกลางและประกอบเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานได้
อุปกรณ์ต่อพ่วงแต่ละชนิดมีคุณลักษณะที่สำคัญ ดังนี้
1.แผงพิมพ์อักขระ
เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการกดแป้นจากนั้นก็เปลี่ยนรหัสแล้วส่งไปยังประมวลผลกลาง แป้นพิมพ์โดยทั่วไปมี 50 แป้นขึ้นไปแบ่งเป็นแป้นตัวเลขและแป้นอักขระ
2.เมาส์
เป็นอุปกรณ์ประเภทตัวชี้ที่ได้รับข้อมูลจากการกดปุ่มข้างบนเมาส์ ทำหน้าที่คลิกปุ่มคำสั่งที่ต้องการ แบ่งเป็น 2 ประเภท
2.1 เมาส์ทางกล
2.2 เมาส์แบบใช้แสง
3.อุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค
เป็นอุปกรณ์รับเข้าที่สามารถติดกับตัวโน๊ตบุ๊ค สะดวกในการพกพา ซึ่งมี 3ประเภท
3.1ลูกกลมควบคุม
3.2แท่งชี้ควบคุม
3.3แผ่นรองสัมผัส
4.ก้านควบคุม เป็นอุปกรณ์ควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวชี้บนหน้าจอ มีลักษณะเป็นก้านโผล่ออกมาจากกล่อง
5.จอสัมผัส
เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูลจากการสัมผัสโดยเมื่อมีการเลือกตำแหน่งที่ถูกเลือกจะแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังซอฟต์แวร์ที่แปลคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
6.อุปกรณ์รับเข้าแบบกราดตรวจ ที่นิยมใช้มีอยู่ 3ประเภท
6.1 เครื่องอ่านรหัสแท่ง อุปกรณ์รับเข้าที่ทำงานโดยหลักการของการสะท้อนแสง เครื่องจะส่องลำเสียงไปยังรหัสบนสินค้าจากนั้นจะเปลี่ยนรหัสเป็นสัญญาณไฟฟ้าผ่านสายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์
6.2 เครื่องกราดตรวจหรือสแกนเนอร์ เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทรูปภาพและข้อความที่อยู่บนสิ่งพิมพ์โดยใช้หลักสะท้อนแสง ข้อมูลจะถูกแปลงในแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและเก็บไว้ในหน่วยความจำ
6.2กล้องดิจิทัล ทำงานเหมือนกล้องถ่ายรูปทั่วไปแต่ไม่ต้องมีฟิล์มและมีคอมแพ็กแฟลช
7.เว็บแคม
เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทกล้องวีดีโอที่สามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวผ่านเว็บไซค์แล้วปรากฎบนหน้าจอได้
8.จอภาพ มี2 ชนิด
1.จอภาพแบบซีอาร์ที มีลักษณะเหมือนจอโทรทัศน์ ทำงานโดยเทคโนโลยีหลอดรังสีอิเล็กตรอน โดยยิงอิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในจอเมื่อลำแสงวิ่งมาชนจะเกิดแสงสว่างขึ้น
2.จอภาพแบบแอลซีดี ทำงานโดยอาศัยการเบี่ยงเบนแสงตามการควบคุมทิศทางของโพราไลเซชั่นของวัตถุที่กั้นระหว่างแหล่งกำเนิดแสงและแผ่นเคลือบสารเรืองแสง ป้องแรงดันเข้าไปยังแผ่นเพลตเมื่อได้รับแรงดันไฟฟ้า มีผลให้แสดงจากแหล่งกำเนิดสามารถผ่านทะลุกระทบกับสารเรืองแสงจนเกิดแสงสีที่ต้องการ
9. ลำโพง
เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลเป็นเสียงโดยใช้งานคู่กับการด์เสียงซึ่งเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทำหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลให้เป็นอะนาล็อกแล้วส่งไปยังลำโพง
10.หูฟัง
เป็นอุปกรณ์ส่งออกใช้ฟังเพลงจากคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เปลี่ยนสัญญาณจากไฟฟ้าเป็นเสียง มีทั้งชนิดไร้สายและมีสาย บางรุ่นก็จะมีไมโครโฟนสำหรับสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ตอีกด้วย
11. เครื่องพิมพ์
เป็นอุปกรณ์ส่งออกที่แสดงผลงานพิมพ์ลงบนกระดาษ แบบเครื่องพิมพ์
11.1เครื่องพิมพ์แบบจุด
11.2เครื่องพิมพ์เลเซอร์
11.3เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึก
11.4พล็อตเคอร์
12. โมเด็ม
เป็นการแปลงสัญญาณเพื่อให้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นได้โดยเชื่อมต่อคอมเข้ากับคู่สายของโทรศัพท์ แล้วโมเด็มก็จะแปลงจากสัญญาณดิจิทัลให้เป็นสัญญาณอะนาล็อก
13.เคส
คือ โครงหรือกล่องสำหรับประกอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ไว้ภายใน การเรียกชื่อ และขนาด ของเคสจะแตกต่างกันออกไป ซึ่งในปัจจุบันมีหลายแบบที่นิยมกัน แล้วแต่ผู้ซื้อจะเลือกซื้อตามความเหมาะสม ของงาน และสถานที่นั้น
14. พาวงเวอร์ซัพพลาย
เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ในการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับชิ้นส่วนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ซึ่งถ้าคอมพิวเตอร์มีอุปกรณ์ต่อพวงเยอะๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์ ดีวีดีไดรฟ์ก็ควรเลือกพาวเวอร์ซัพพลายที่มีจำนวนวัตต์สูง เพื่อให้สามารถ จ่ายกระแสไฟได้เพียงพอ
15.เมนบอร์ด
แผ่นวงจรไฟฟ้าแผ่นใหญ่ที่รวมเอาชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่สำคัญๆมาไว้ด้วยกัน ซึ่งเป็นส่วนที่ควบคุม การทำงานของ อุปกรณ์ต่างๆ ภายในพีชีทั้งหมด มีลักษณะเป็นแผ่น รูปร่างสี่เหลี่ยมแผ่นที่ใหญ่ที่สุดในพีชี ที่จะรวบรวมเอาชิปและไอชี (IC = Integrated Circuit) รวมทั้ง การ์ดต่อพ่วงอื่นๆ เอาไว้ด้วยกันบนบอร์ดเพียงอันเดียวเครื่องพีชีทุกเครื่องไม่สามารถทำงาน ได้ถ้าขาดเมนบอร์ด
16.ซีพียู ซีพียูหรือหน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor)หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสำคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลจากข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ
17. การ์ดแสดงผล
การ์ดแสดงผลใช้สำหรับเก็บข้อมูลที่ได้รับมาจากซีพียู โดยที่การ์ดบางรุ่นสามารถประมวลผลได้ในตัวการ์ด ซึ่งจะช่วยแบ่งเบาภาระการประมวลผลให้ซีพียู จึงทำให้การทำงานของคอมพิวเตอร์นั้นเร็วขึ้นด้วย ซึ่งตัวการ์ดแสดงผลนั้นจะมีหน่วยความจำในตัวของมันเอง ถ้าตัวการ์ดมีหน่วยความจำมาก ก็จะรับข้อมูลจากซีพียูได้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้การแสดงผลบนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นด้วย
18ม18.แรม
RAM ย่อมาจากคำว่า Random-Access Memory เป็นหน่วยความจำหลักแต่ไม่ถาวร ซึ่งจะต้องมีไฟมาหล่อเลี้ยงอุปกรณ์ตลอดในการทำงาน โดยถ้าเกิดไฟฟ้ากระพริบหรือดับ ข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในหน่วยความจำจะหายไปทันที
19. ฮาร์ดดิสก์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ โดยฮาร์ดดิสค์จะมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เป็นโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสำหรับการควบคุมการทำงานประกบอยู่ที่ด้านล่าง พร้อมกับช่องเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง ส่วนประกอบภายในจะถูกปิดผนึกไว้อย่างมิดชิด โดยฮาร์ดดิสค์ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยแผ่นจานแม่เหล็ก(platters) สองแผ่นหรือมากกว่ามาจัด เรียงอยู่บนแกนเดียวกันเรียก Spindle ทำให้แผ่นแม่เหล็กหมุนไปพร้อม ๆ กัน จากการขับเคลื่อนของมอเตอร์ แต่ละหน้าของแผ่นจานจะมีหัวอ่านเขียนประจำเฉพาะ โดยหัวอ่านเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคล้ายหวี สามารถเคลื่อนเข้าออกระหว่างแทร็กต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่งอินเตอร์เฟสของฮาร์ดดิสก์ที่ใช้ในปัจจุบัน มีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน
20. ฟล็อปปี้ดิสก์
เป็นอุปกรณ์ที่กำเนิดมาก่อนยุคของพีซีเสียอีก โดยเริ่มจากที่มีขนาด 8 นิ้ว กลายมาเป็น5.25 นิ้ว จนมาถึงปัจจุบันซึ่งอยู่ที่ 3.5 นิ้ว ในส่วนของความจุเริ่มต้นตั้งแต่ไม่กี่ร้อยกิโลไบต์มาเป็น 1.44 เมกะไบต์ และ 2.88 เมกะไบต์ ตามลำดับ
21.เครื่องสแกนภาพ (Scanner)
สแกนเนอร์ (Scanner) คืออุปกรณ์ซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของ อนาล็อกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษาและผลิต ออกมาได้ ภาพนั่นอาจจะเป็น รูปถ่าย ข้อความ ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ สามารถใช้สแกนเนอร์ทำงานต่างๆ ได้ดังนี้
สแกนเนอร์ คือ อุปกรณ์ ซึ่ง จับ ภาพ และ เปลี่ยน แปลง ภาพ จาก รูป แบบ ของ แอ นา ลอก เป็นดิจิตอลซึ่ง คอมพิวเตอ ร ์ สามารถ แสดง , เรียบ เรียง , เก็บ รักษา และ ผลิต ออก มา ได้ ภาพ นั้น อาจ จะ เป็น รูป ถ่าย , ข้อ ความ , ภาพ วาด หรือ แม้ แต่ วัตถุ สาม มิติ สามารถ ใช้สแกนเนอร์ทำ งาน ต่างๆได้ ดัง นี้
- ใน งาน เกี่ยวกับงาน ศิลปะ หรือ ภาพ ถ่าย ใน เอก สาร
- บัน ทึก ข้อ มูล ลง ใน เวิร์ด โปรเซสเซอร์
- แฟ็กเอก สาร ภาย ใต้ ดาต้าเบส และ เวิร์ด โปรเซสเซอร์
- เพิ่ม เติม ภาพ และ จินตนาการ ต่าง ๆ ลง ไป ใน ผลิต ภัณฑ์ สื่อ โฆษณา ต่าง ๆ
ชนิด ของเครื่องสแกนเนอร์
สแกนเนอร์สามารถ จัด แบ่ง ตาม ลักษณะ ทั่วๆ ไป ได้ 2 ชนิด คือ
Flatbed scanners, ซึ่ง ใช้สแกน ภาพ ถ่าย หรือ ภาพ พิมพ์ ต่าง ๆ สแกนเนอร์ ชนิด นี้ มี พื้น ผิว แก้ว บน โลหะ ที่ เป็น ตัวสแกน เช่น ScanMaker III Transparency and slide scanners, ซึ่ง ถูก ใช้สแกน โลหะ โปร่ง เช่น ฟิล์ม และ สไลด์
การ ทำ งาน ของสแกนเนอร์
การ จับ ภาพ ของสแกนเนอร์ ทำ โดย ฉาย แสง บน เอก สาร ที่ จะสแกน แสง จะ ผ่าน กลับ ไป มา และ ภาพ จะ ถูก จับ โดย เซลล์ ที่ ไว ต่อ แสง เรียก ว่า charge-couple device หรือ CCD ซึ่ง โดย ปกติ พื้น ที่ มืด บน กระดาษ จะ สะท้อน แสง ได้ น้อย และ พื้น ที่ ที่ สว่าง บน กระดาษ จะ สะท้อน แสง ได้ มาก กว่า CCD จะ สืบ หา ปริมาณ แสง ที่ สะท้อน กลับ
จาก แต่ ละ พื้น ที่ ของ ภาพ นั้น และ เปลี่ยน คลื่น ของ แสง ที่ สะท้อน กลับ มา เป็น ข้อ มูลดิจิตอล หลัง จาก นั้น ซอฟต์แวร์ที่ ใช้ สำหรับ กา รส แกน ภาพ ก็ จะ แปลง เอา สัญญาณ เหล่า นั้น กลับ มา เป็นภ า พ บน คอมพิวเตอร์ อีก ที หนึ่ง
สิ่ง ที่ จำ เป็น สำหรับ กา รส แกน ภาพ มี ดัง นี้
- สแกนเนอร์
- สาย SCSI สำหรับ ต่อ จากสแกนเนอร์ไป ยังเครื่องคอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์สำหรับ กา รส แกน ภาพ ซึ่ง ทำ หน้า ที่ ควบ คุม การ ทำ งาน ของสแกนเนอร์ให้ สแกน ภาพ ตาม ที่ กำหนด
- สแกน เอก สาร เก็บ ไว้ เป็น ไฟล์ ที่ นำ กลับ มา แก้ ไข ได้ อาจ ต้อง มี ซอฟต์แวร์ที่ สนับสนุน ด้าน OCR
- จอ ภาพ ที่ เหมาะ สม สำหรับ การ แสดง ภาพ ที่สแกน มา จากสแกนเนอร์
- เครื่องมือ สำหรับ แสดง พิมพ์ ภาพ ที่สแกน เช่น เครื่องพิมพ์ แบบ เลเซอร์ หรือ สไลด์ โปรเจคเตอร์
ประเภท ของ ภาพ ที่ เกิด จาก กา รส แกน แบ่ง เป็น ประเภท ดัง นี้
1. ภาพ Single Bit
ภาพ Single Bit เป็น ภาพ ที่ มี ความ หยาบ มาก ที่ สุด ใช้ พื้น ที่ ใน การ เก็บ ข้อ มูล น้อย ที่ สุด และ นำ มา ใช้ ประ โยชน์ อะไรไ่ม่ค่อย ได้ แต่ ข้อ ดี ของ ภาพ ประเภท นี้ คือ ใช้ ทรัพยากร ของเครื่องน้อย ที่ สุด ใช้ พื้น ที่ ใน การ เก็บ ข้อ มูล น้อย ที่ สุด ใช้ ระยะ เวลา ใน กา รส แกน ภาพ น้อย ที่ สุด Single-bit แบ่ง ออก ได้ สอง ประเภท คือ
- Line Art ได้ แก่ ภาพ ที่ มี ส่วน ประกอบ เป็น ภาพ ขาว ดำ ตัว อย่าง ของ ภาพ พวก นี้ ได้ แก่ ภาพ ที่ ได้ จาก กา รสเก็ต
- Halftone ภาพ พวก นี้ จะ ให้ สี ที่ เป็น โทน สี เทา มาก กว่า แต่ โดย ทั่ว ไป ยัง ถูก จัด ว่า เป็น ภาพ ประเภท Single-bit เนื่อง จาก เป็น ภาพ หยาบๆ
2. ภาพ Gray Scale
ภาพ พวก นี้ จะ มี ส่วน ประกอบ มาก กว่า ภาพ ขาว ดำ โดย จะ ประกอบ ด้วย เฉด สี เทา เป็น ลำ ดับ ขั้น ทำ ให้ เห็น ราย ละเอียด ด้าน แสง -เงา ความ ชัด ลึก มาก ขึ้น กว่าเดิมภาพ พวก นี้ แต่ ละพิกเซลหรือ แต่ ละ จุด ของ ภาพ อาจ ประกอบ ด้วย จำน วน บิตมาก กว่า
ต้อง การ พื้น ที่ เก็บ ข้อ มูล มาก ขึ้น
3. ภาพ สี
หนึ่งพิกเซลของ ภาพ สี นั้น ประกอบ ด้วย จำนวน บิ ตม หา ศาล และ ใช้ พื้น ที่ เก็บ ข้อ มูล มาก ควาามสามารถ ใน กา รส แกน ภาพ ออก มา ได้ ละเอียด ขนาด ไหน นั้น ขึ้น อยู่กับว่า ใช้สแกนเนอร์ขนาด ความ ละเอียด เท่า ไร
4. ตัว หนังสือ
ตัว หนังสือ ใน ที่ นี้ ได้ แก่ เอก สาร ต่างๆ เช่น ต้อง การ เก็บ เอก สาร โดย ไม่ ต้อง พิมพ์ ลง ใน แฟ้ม เอก สาร ของ เวิร์ด โปรเซสเซอร์ ก็ สามารถ ใช้สแกนเนอร์สแกน เอก สาร ดัง กล่าว และ เก็บ ไว้ เป็น แฟ้ม เอก สาร ได้ นอก จาก นี้ ด้วย เทคโนโลยี ปัจจุบัน สามารถ ใช้ โปรแกรม ที่ สนับสนุน OCR (Optical Characters Reconize) มา แปลง แฟ้ม ภาพ เป็น เอก สาร ดัง กล่าว ออก มา เป็น แฟ้ม ข้อ มูล ที่ สามารถ แก้ ไข ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น